Frequently Asked Questions
คำถามที่พบบ่อย
- DSI เป็นหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต ในขณะที่ IT/CS เป็นหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
- DSI เป็นหลักสูตรร่วมระหว่าง คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และ คณะศิลปะศาสตร์
- DSI ให้ความสำคัญกับหลักการการเข้าใจมนุษย์ โดยบรรจุ 4 วิชา ด้านจิตวิทยาเป็นวิชาแกนในหลักสูตร
- DSI เน้นเติมเต็มความรู้ด้านมนุษย์ศาสตร์ และบริหารธุรกิจ มากกว่าหลักสูตร IT/CS
- DSI มีการสอนเนื้อหาการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น โดยเน้นส่วนที่ติดต่อกับผู้ใช้ แต่จะไม่เรียนเนื้อหาเชิงลึกมากเหมือนหลักสูตร IT/CS โดยหลักสูตรไม่ได้มีเป้าหมายผลิตบัณฑิตไปเป็นนักเขียนโปรแกรม
- DSI เน้นการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) และต้องไปเรียนรู้และฝึกประสบการณ์กับภาคอุตสาหกรรม
แต่ละปีรับ 40 คน โดยประมาณ
นักเรียนที่จบสายศิลป์สามารถสมัครเข้าเรียนได้ และเหมาะกับนักเรียนที่มีความสนใจด้านเทคโนโลยีดิจิทัล เนื่องจาก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบริการดิจิทัล เป็นหลักสูตรพหุวิทยาการ (Multidisciplinary) ที่ประยุกต์และบูรณาการศาสตร์ทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศ ร่วมกับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ กอรปกับทักษะด้านการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารร่วมด้วย เน้นสร้างบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจในการนำเทคโนโลยีดิจิทัลไปใช้งานได้อย่างสอดคล้องกับบริบทของประเทศในยุค Thailand 4.0 เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้เป็น Digital Transformation Change Agent
มหาวิทยาลัยฯ จัดสรรทุนการศึกษา “ทุนเพชรพระจอมเกล้า” สนับสนุนนักศึกษาที่มีความสามารถทั้งด้าน วิชาการ และความสามารถเฉพาะด้านกว่า 250 ทุน/ปี แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ที่มี ศักยภาพและความสามารถ มีความพึงพอใจและใฝ่รู้ โดยจะให้การสนับสนุนตามระยะเวลาการศึกษาที่ระบุไว้ ในหลักสูตรและภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด นอกจากนี้มจธ. ยังมีทุนต่างๆอีก ดังนี้
- ทุนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ฝ่ายบริการการศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร 02-4709866)
- ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล
- ทุนให้เปล่า
- ทุนเงินยืมเพื่อการศึกษาของมหาวิทยาลัย
- ทุนเงินยืมฉุกเฉิน
- ทุนจ้างงานนักศึกษา
- ทุนโครงการต่าง ๆ
หมายเหตุ : ทุนลำดับที่ 2-7 สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ งานแนะแนว โทร 02-4708097-99
เนื่องจากเป็นหลักสูตรบูรณาการ เน้นการจัดการเรียนการสอนแบบเรียนรู้เชิงประสบการณ์ (Experiential Learning) โดยนักศึกษาต้องไปเรียนรู้และฝึกประสบการณ์กับภาคอุตสาหกรรม ดังนั้น จึงทำให้มีกิจกรรม หรือโครงการพานักศึกษาไปศึกษาดูงาน หรือ เชิญภาคอุตสาหกรรมมาบรรยายให้ความรู้กับนักศึกษา และรวมถึงการส่งนักศึกษาไปเรียนรู้กับภาคอุตสาหกรรม ช่วงปี 3 – ปี 4 จึงทำให้มีค่าใช้จ่ายสูงกว่าหลักสูตรอื่น
รับนักเรียนกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไม่กำหนดแผนการศึกษา โครงการนี้ไม่ได้กำหนดคะแนนขั้นต่ำ หมายถึง ต้องมีคะแนน แต่ไม่ได้กำหนดขั้นต่ำ เพื่อนำไปคิดค่าน้ำหนักในการเรียกเข้าสัมภาษณ์ รายละเอียด ดังนี้
- GPAX ค่าน้ำหนัก 10%
- GPA คณิตศาสตร์ ค่าน้ำหนัก 15%
- GPA ภาษาอังกฤษ ค่าน้ำหนัก 15%
แผนการเรียนวิทย์-คณิต, วิทย์-คอม, ศิลป์-คำนวณ และ ศิลป์-คอม
- GAT (ตอนที่ 1) ค่าน้ำหนัก 15 %
- GAT (ตอนที่ 2) ค่าน้ำหนัก 20%
- PAT 1 (คณิตศาสตร์) ค่าน้ำหนัก 20%
- PAT 2 (วิทยาศาสตร์) ค่าน้ำหนัก 5%
แผนการเรียน ศิลป์-ภาษา
- GAT (ตอนที่ 1) ค่าน้ำหนัก 20 %
- GAT (ตอนที่ 2) ค่าน้ำหนัก 20%
- PAT 1 (คณิตศาสตร์) ค่าน้ำหนัก 20%
- PAT 7 ความถนัดทางภาษาต่างประเทศ (ต้องมีแต่ไม่ได้กำหนดค่าน้ำหนัก)
หมายเหตุ : ค่าน้ำหนักเกณฑ์การเรียกสอบคัดเลือกคิดสัดส่วนรวม เท่ากับ 100%
- รับนักเรียนกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไม่กำหนดแผนการศึกษา
- มีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่น้อยกว่า 3.00 (คิดค่าน้ำหนัก 30%)
- มีคะแนนเฉลี่ย (GPA)กลุ่มสาระ วิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 2.75 (คิดค่าน้ำหนัก 35%) และ วิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 2.75 (คิดค่าน้ำหนัก 35%)
- มีสอบสัมภาษณ์
- รับนักเรียนกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ไม่กำหนดแผนการศึกษา
- มีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) เกรด 5 ภาคการศึกษา ไม่ต่ำกว่า 2.50 และ/หรือความสามารถทางด้าน IT/ดิจิทัล บุคลิกภาพ และการสื่อสารโดดเด่น
- มีคะแนนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 2.75 และวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 2.50
- ต้องมีแฟ้มสะสมผลงานและกิจกรรมของตนเองที่สนับสนุนการเข้าเรียนในสาขาวิชานวัตกรรมบริการดิจิทัล สามารถส่งพร้อมคลิปแนะนำและอธิบายผลงานตนเอง
- มีสอบสัมภาษณ์
1. เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ เท่านั้น
2. คะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่น้อยกว่า 3.00
3. คะแนนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 3.00 และวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 3.00
4. คะแนน GAT – ตอนที่ 1 ความถนัดทั่วไป ไม่ต่ำกว่า 90 คะแนน
5. คะแนน GAT – ตอนที่ 2 ความถนัดภาษาอังกฤษ ไม่ต่ำกว่า 60 คะแนน
6. สอบ CS@SIT Aptitude & Attitude (AA) Exam (ข้อสอบใช้ภาษาอังกฤษในการสื่อสาร)
7. สอบสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
8. มีแฟ้มสะสมผลงานประกอบด้วย
a. Computer or IT–related Achievements or Awards OR Certificates for Social Responsibility and/or Good Conduct OR Evidences or Certificates of Participation in Computer or IT–related Activities such as Summer Camps
b. AND Academic Transcript (5 terms)
c. AND Personal and Contact Information including Mailing Address, Telephone Number, Email Address, Facebook and/or Line ID, etc.
d. AND (IF ANY) Official School’s Percentile Ranking (either at Program Level or School Level)
e. AND (IF ANY) Standardized Test Scores such as TOEFL, IELTS, SAT or ACT are Recommended.
9. เอกสารทุกชุดต้องเป็นฉบับสำเนาเท่านั้น (Do NOT Send Original Copy of Your Documentations.)
10. เป็นผู้ที่ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง หรือความผิดปกติใด ๆ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในหลักสูตร
1. เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ เท่านั้น
2. คะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่น้อยกว่า 3.25
3. คะแนนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 3.00 และวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 3.00
4. สอบสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. มีแฟ้มสะสมผลงานประกอบด้วย
a. Computer or IT–related Achievements or Awards OR Certificates for Social Responsibility and/or Good Conduct OR Evidences or Certificates of Participation in Computer or IT–related Activities such as Summer Camps
b. AND Academic Transcript (5 terms)
c. AND Personal and Contact Information including Mailing Address, Telephone Number, Email Address, Facebook and/or Line ID, etc.
d. AND (IF ANY) Official School’s Percentile Ranking (either at Program Level or School Level)
e. AND (IF ANY) Standardized Test Scores such as TOEFL, IELTS, SAT or ACT are Recommended.
6. เอกสารทุกชุดต้องเป็นฉบับสำเนาเท่านั้น (Do NOT Send Original Copy of Your Documentations.)
7. เป็นผู้ที่ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง หรือความผิดปกติใด ๆ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในหลักสูตร
1. เป็นนักเรียนที่กำลังศึกษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือ สำเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 วิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ เท่านั้น
2. คะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX) ไม่น้อยกว่า 3.00
3. คะแนนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระวิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 3.00 และวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 3.00
4. สอบสัมภาษณ์ภาษาอังกฤษโดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
5. มีแฟ้มสะสมผลงานประกอบด้วย
a. Computer or IT–related Achievements or Awards OR Certificates for Social Responsibility and/or Good Conduct OR Evidences or Certificates of Participation in Computer or IT–related Activities such as Summer Camps
b. AND Academic Transcript (5 terms)
c. AND Personal and Contact Information including Mailing Address, Telephone Number, Email Address, Facebook and/or Line ID, etc.
d. AND (IF ANY) Official School’s Percentile Ranking (either at Program Level or School Level)
e. AND (IF ANY) Standardized Test Scores such as TOEFL, IELTS, SAT or ACT are Recommended.
6. เอกสารทุกชุดต้องเป็นฉบับสำเนาเท่านั้น (Do NOT Send Original Copy of Your Documentations.)
7. เป็นผู้ที่ไม่มีโรคติดต่อร้ายแรง หรือความผิดปกติใด ๆ ที่จะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษาในหลักสูตร
นักศึกษาที่ต้องการลงทะเบียนต่ำกว่าหรือเกินกว่าหน่วยกิตที่กำหนด ต้องได้รับอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา โดยมีหลักเกณฑ์ดังนี้
1. กรณีนักศึกษาที่มีสภาพวิทยาทัณฑ์ ต้องอยู่ในความดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา
2. นักศึกษาสภาพปกติ อนุญาตให้ลงทะเบียนเรียนวิชาตกค้าง หรือวิชาอื่นๆ ได้อีก 1 รายวิชา โดยได้รับการอนุมัติจากอาจารย์ที่ปรึกษา
1. การถอนรายวิชาให้กระทำได้ก่อนการสอบปลายภาคการศึกษาปกติ 3 สัปดาห์ หรือหลังจาก 2 สัปดาห์แรก แต่ไม่เกิน 4 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาพิเศษ
2. รายวิชาที่ขอถอนจะบันทึก W ในใบรายงานผลการศึกษา
3. ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและได้รับการอนุมัติจากหัวหน้าภาควิชา
4. เงื่อนไขการขอถอนรายวิชาต้องไม่ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต
5. การถอนรายวิชา มหาวิทยาลัยจะไม่คืนเงินค่าลงทะเบียนให้
1. การขอลดรายวิชาให้กระทำได้ก่อนการสอบกลางภาคการศึกษาปกติ หรือภายใน 2 สัปดาห์แรกของภาคการศึกษาพิเศษ โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา
2. รายวิชาที่ขอลดจะไม่บันทึกในใบรายงานผลการศึกษา
3. เมื่อลดรายวิชา หน่วยกิตต้องไม่ต่ำกว่า 12 หน่วยกิต
4. มหาวิทยาลัยจะคืนเงินค่าหน่วยกิตรายวิชาให้ร้อยละ 80 ในกรณีขอลดรายวิชาภายใน 2 สัปดาห์นับแต่วันเปิดภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาพิเศษ
1. การขอเพิ่มรายวิชา และการขอเปลี่ยนกลุ่มเรียนให้กระทำภายใน 2 สัปดาห์แรก นับตั้งแต่การเปิดภาคการศึกษาปกติ หรือภายในสัปดาห์แรกของภาคการศึกษาพิเศษ ตามวันเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาและได้รับอนุญาตจากผู้สอน
2. เมื่อเพิ่มรายวิชาจำนวนหน่วยกิต ต้องไม่เกิน 19 หน่วยกิต
3. การขอเพิ่มรายวิชาจะต้องไม่มีชั่วโมงเรียนหรือชั่วโมงสอบซ้อนกัน ยกเว้นนักศึกษาชั้นปีสุดท้าย
นักศึกษาระดับปริญญาตรี 4 ปี มีผลการศึกษาตามเกณฑ์ต่อไปนี้ จะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาทันที
1. มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.50 ในภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา
2. มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.75 ต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติ
3. นักศึกษาอยู่ในสภาพวิทยาทัณฑ์ต่อเนื่องกัน 4 ภาคการศึกษาปกติ
นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา ด้วยเหตุผลดังต่อไปนี้
– มหาวิทยาลัยอนุมัติปริญญา อนุปริญญาหรือประกาศนียบัตร เนื่องจากเรียนครบตามหลักสูตร
– ได้รับอนุมัติให้ลาออก
– นักศึกษาไม่ลงทะเบียนเรียนภายในระยะเวลาที่กำหนดในภาคการศึกษาปกติ โดยมิได้ทำเรื่องขอผ่อนผันเป็นลายลักษณ์อักษร
– นักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนแล้ว แต่ไม่ชำระค่าบำรุงการศึกษาและค่าธรรมเนียมการศึกษาภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด
– นักศึกษาขาดเรียนติดต่อกัน 30 วัน โดยมิได้แจ้งให้ทราบ
– นักศึกษาไม่ชำระค่าธรรมเนียมการศึกษา เพื่อรักษาสถานภาพการศึกษาภายในระยะเวลาที่มหาวิทยาลัยกำหนด
– ศึกษาเป็นระยะเวลาเกิน 2 เท่าของระยะเวลาการศึกษาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
– ถูกลงโทษทางวินัยให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
– ต้องรับโทษจำคุก หรือโทษที่หนักกว่าจำคุก โดยคำพิพากษาถึงที่สุด เว้นแต่โทษความผิดที่ได้กระทำโดยประมาท หรือความผิดลหุโทษ
– เป็นนิสิตหรือนักศึกษาของสถาบันการศึกษาอื่น ยกเว้นในมหาวิทยาลัยเปิด
– ปลอมแปลมรายมือชื่อผู้ปกครอง หรือลายมือชื่อบุคคลอื่น เพื่อใช้เป็นหลักฐานต่อมหาวิทยาลัย
– ถึงแก่ความตาย
นักศึกษาจะขออนุญาตลาพักการศึกษาได้ ในกรณีต่อไปนี้
- ถูกเกณฑ์ หรือระดมเข้ารับราชการทหาร หรือฝึกวิชาทหาร
- ได้รับทุนแลกเปลี่ยนนักศึกษาระหว่างประเทศ หรือทุนอื่นใดที่มหาวิทยาลัยเห็นสมควรสนับสนุน
- ป่วยจนต้องพักรักษาตัวเป็นเวลานานตามคำสั่งแพทย์ เกินกว่าร้อยละ 20 ของเวลาเรียนทั้งหมด โดยมีใบรับรองแพทย์เป็นหลักฐาน
- มีเหตุสุดวิสัยทำให้ไม่สามารถเข้าศึกษาได้
เมื่อมีเหตุอันควรได้รับการพิจารณาให้ลาพักการศึกษา ให้นักศึกษายื่นใบลาพร้อมด้วยหลักฐานเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อพิจารณานำเสนอคณบดี และให้คณะกรรมการประจำคณะที่นักศึกษาสังกัดพิจารณาอนุญาต
นักศึกษาสามารถลาพักการศึกษาติดต่อกันได้ไม่เกินครั้งละ 2 ภาคการศึกษาปกติ และนักศึกษาจะต้องชำระค่ารักษาสภาพการเป็นนักศึกษาทุกภาคการศึกษา ตามระเบียบมหาวิทยาลัย ภายในระยะเวลาที่กำหนด
มหาวิทยาลัยฯ จัดสรรทุนการศึกษา “ทุนเพชรพระจอมเกล้า” สนับสนุนนักศึกษาที่มีความสามารถทั้งด้าน วิชาการ และความสามารถเฉพาะด้านกว่า 250 ทุน/ปี แก่นักศึกษาระดับปริญญาตรี และระดับบัณฑิตศึกษา ที่มี ศักยภาพและความสามารถ มีความพึงพอใจและใฝ่รู้ โดยจะให้การสนับสนุนตามระยะเวลาการศึกษาที่ระบุไว้ ในหลักสูตรและภายใต้เงื่อนไขที่กำหนด นอกจากนี้มจธ. ยังมีทุนต่างๆอีก ดังนี้
1. ทุนคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ (สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ ฝ่ายบริการการศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ โทร 02-4709866)
2. ทุนกู้ยืมเพื่อการศึกษาของรัฐบาล
3. ทุนให้เปล่า
4. ทุนเงินยืมเพื่อการศึกษาของมหาวิทยาลัย
5. ทุนเงินยืมฉุกเฉิน
6. ทุนจ้างงานนักศึกษา
7. ทุนโครงการต่าง ๆ หมายเหตุ : ทุนลำดับที่ 2-7 สามารถติดต่อสอบถามได้ที่ งานแนะแนว โทร 02-4708097-99
สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ (หลักสูตรภาษาอังกฤษ) หรือ Computer Science (English program) หรือเรียกย่อๆว่า CS นี้ จะมีการรับนักศึกษาจำนวนประมาณ 60 คน/ปีการศึกษา และมีการรับสมัครโครงการต่างๆ ดังนี้
- รอบ TCAS 1 Portfolio เริ่มเดือนธันวาคม – เดือนมกราคม
- รอบ TCAS 2 โควตา เริ่มเดือนกุมภาพันธ์ – เดือนเมษยน
- รอบ TCAS 3 รับตรงร่วมกัน เริ่มเดือนเมษยายน – เดือนพฤษภาคม
- รอบ TCAS 4 Admission เริ่มเดือนพฤษภาคม – เดือนมิถุนายน
- รอบ TCAS 5 รับตรงอิสระ เริ่มเดือนมิถุนายน – เดือนมิถุนายน
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ รับนักเรียนกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ / สายศิลป์-คำนวณ / วิทย์-คอม โครงการนี้ไม่ได้กำหนดคะแนนขั้นต่ำ หมายถึง ต้องมีคะแนน แต่ไม่ได้กำหนดขั้นต่ำ เพื่อนำไปคิดค่าน้ำหนักในการเรียกเข้าสัมภาษณ์ รายละเอียด ดังนี้
GPAX ค่าน้ำหนัก 10%
GPA วิทยาศาสตร์ ค่าน้ำหนัก 5%
GPA คณิตศาสตร์ ค่าน้ำหนัก 10%
GPA ภาษาอังกฤษ ค่าน้ำหนัก 10%
GAT (ตอนที่ 1) ค่าน้ำหนัก 10 %
GAT (ตอนที่ 2) ค่าน้ำหนัก 15%
PAT 1 (คณิตศาสตร์) ค่าน้ำหนัก 25%
PAT 2 (วิทยาศาสตร์) ค่าน้ำหนัก 15%
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
1. รับนักเรียนกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาชั้นปีที่ 6 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ / ศิลป์-คำนวณ หรือ วิทย์-คอม
2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX)ไม่น้อยกว่า3.00
3. มีคะแนนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 2.75 วิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 3.00 และวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 2.75
4. มีสอบสัมภาษณ์
นักศึกษาระดับปริญญาตรี 4 ปี มีผลการศึกษาตามเกณฑ์ต่อไปนี้ จะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาทันที
- มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.50 ในภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา
- มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมต่ำกว่า 1.75 ต่อเนื่องกัน 2 ภาคการศึกษาปกติ
- นศ.อยู่ในสภาพวิทยาทัณฑ์ต่อเนื่องกัน 4 ภาคการศึกษาปกติ
การศึกษาตามหลักสูตรนักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนวิชาต่างๆ ไม่น้อยกว่า 129 หน่วยกิต จึงจะสำเร็จการศึกษา โดยมีรายละเอียดย่อๆ ดังนี้
– หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 31 หน่วยกิต – หมวดวิชาเฉพาะด้าน 92 หน่วยกิต – หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
1. รับนักเรียนกำลังศึกษามัธยมศึกษาปีที่ 6 หรือสำเร็จการศึกษาในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สายวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์ / ศิลป์-คำนวณ หรือ วิทย์-คอม
2. มีคะแนนเฉลี่ยสะสม (GPAX)ไม่น้อยกว่า2.50
3. มีคะแนนเฉลี่ย (GPA) กลุ่มสาระวิชาวิทยาศาสตร์ไม่น้อยกว่า 2.50 วิชาคณิตศาสตร์ไม่น้อยกว่า 2.75 และวิชาภาษาอังกฤษไม่น้อยกว่า 2.50
4. ต้องมีแฟ้มสะสมผลงานและกิจกรรมของตนเองที่สนับสนุนการเข้าเรียนในสาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ สามารถส่งพร้อมคลิปแนะนำและอธิบายผลงานตนเอง
5. มีสอบสัมภาษณ์
1. โครงการ Active Recruitment เริ่มเดือนตุลาคม 2560 – เดือนเมษายน 2560 ประกาศผลทุกเดือน
2. คัดตรงเรียนดี รับสมัครวันที่ 1 ตุลาคม – 5 พฤศจิกายน 2560
3. คัดเลือกตรง โดยใช้คะแนน GAT/PAT รับสมัครวันที่ 1 มีนาคม – 5 เมษายน 2561
4. รอบ Admissions รับสมัครผ่าน ทปอ. วันที่ 6 – 10 มิถุนายน 2561
ให้นำผลภาษาอังกฤษตัวจริงและสำเนา 2 ชุด เขียนชื่อ นามสกุล รหัสนักศึกษา สาขาวิชาที่เรียน รุ่น ยื่นที่ศูนย์ภาษา
โดยศูนย์ภาษา จะอยู่อาคาร SIT ชั้น 2 วันจันทร์-ศุกร์ 08.30-19.00 น. วันเสาร์ 09.00-12.00 น.
ติดต่อนักบริการการศึกษาได้ ณ อาคารคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
คุณอาภรณ์ (พี่เล็ก) หลักสูตร ป.โท สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ จันทร์-พฤหัสบดี เวลา 10.00-19.00 น. เสาร์ เวลา 08.00-17.00 น. เมล์ aphorn@sit.kmutt.ac.th
คุณมะยุลา (พี่ปู) หลักสูตร ป.โท สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ และปริญญาเอก อังคาร-ศุกร์ เวลา 10.00-19.00 น. เสาร์ เวลา 08.00-17.00 น. เมล์ mayula@sit.kmutt.ac.th
คุณดวงเนตร (เบล) หลักสูตร ป.โท สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ จันทร์-พฤหัสบดี เวลา 10.00-19.00 น. อาทิตย์ เวลา 08.00-17.00 น. เมล์ duangnate.jam@sit.kmutt.ac.th
วิชาบังคับที่เกรดต่ำกว่า C+ ต้องเรียนใหม่ ทั้งนี้ตั้งแต่ภาค 1/2562 เป็นต้นไปต้องได้ B ขึ้นไป
GPA ต้องไม่ต่ำกว่า 2.50
ให้มาเซ็นการเข้าเรียนที่แบบฟอร์มบันทึกการเข้าเรียนที่หน้าห้องฝ่ายบริการการศึกษา อาคาร SIT ชั้น 2
กรณีเรียนที่อาคาร CB2 นักศึกษาสามารถทาบบัตรได้ที่หน้าห้อง CB2308 เครื่องใดเครื่องหนึ่งก่อนเข้าเรียนแต่ละวิชาก่อน 30 นาที
กรณีเรียนที่อาคาร SIT นักศึกษาสามารถทาบบัตรได้ที่ชั้น 1
ของคณะ หรือ เข้า quick link ที่ www.sit.kmutt.ac.th
- ใบคำร้องออนไลน์ URL: https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/
- ระบบตรวจสอบสถานะการศึกษา URL: https://edu-status.sit.kmutt.ac.th/
ของมหาวิทยาลัย
1. ระบบลงทะเบียน, ตรวจสอบผลการเรียน, แจ้งสำเร็จการศึกษา ที่ URL: https://sinfo.kmutt.ac.th/
2. ระบบประเมินผลการสอน (หากไม่เข้าระบบประเมินตามช่วงเวลาที่กำหนดจะไม่สามารถดูผลการเรียนได้)
ที่ URL: http://apollo.kmutt.ac.th/newassess-std/default.aspx
ไม่ต้องลงทะเบียนผ่านระบบโดยมหาวิทยาลัยจะลงทะเบียนให้อัตโนมัติ โดยจะลงทะเบียนตามรายวิชาที่จองกับคณะไว้
2. นำแบบฟอร์มที่กรอกข้อมูลแล้วติดต่อ งานทะเบียนมหาวิทยาลัย มจธ. ชั้น 1 อาคารอธิการบดี วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08.30-16.30 น. เพื่อประทับตรา
3. นำแบบฟอร์มที่ได้รับการประทับตราแล้วติดต่อ ธนาคารกรุงเทพ สาขา หน้า มจธ. วันจันทร์-วันศุกร์ เวลา 08.30-15.30 น.
รับได้ที่ธนาคารกรุงเทพ สาขาหน้ามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี (สาขานี้เท่านั้น) วันจันทร์-ศุกร์ 08.30-15.30 น.
ต้องดำเนินการกรอกข้อมูลนักศึกษาตาม URL ที่มหาวิทยาลัยกำหนดที่ http://regis.kmutt.ac.th/nstudent/nstudent.php
www.sit.kmutt.ac.th
ประกาศผลสอบหลังจากวันสอบประมาณ 5 วัน ผ่านทางเว็บไซต์คณะ
ไม่มีมาตรการให้ยกเลิกการสอบ กรณีไม่มาสอบถือว่าท่านใช้สิทธิ์การสอบแล้ว 1 ครั้ง
เขียนคำร้องผ่าน URL: https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/
ระบุเหตุผลพร้อมแนบหลักฐานการสมัคร
ผ่านเว็บไซต์คณะ www4.sit.kmutt.ac.th หลังจากปิดรับสมัครแล้ว 2 วัน
สมัครผ่านระบบการสมัครที่ URL: http://webapp1.sit.kmutt.ac.th/comprehensive/
ตามกำหนดการสมัคร และนำใบ Pay–in ไปชำระเงินที่ธนาคารภายในวันที่กำหนด
ร้อยละ 60 ของจำนวนข้อสอบ หรือได้คะแนน 70 คะแนนขึ้นไป สำหรับนักศึกษา
รหัส 58 เป็นต้นไปต้องได้คะแนน 60 คะแนนขึ้นไป
วิชาบังคับทั้งหมดของแต่ละหลักสูตร โดยข้อสอบแต่ละวิชามีจำนวน 20 ข้อ รวมทั้งหมด 120 ข้อกรณีนักศึกษา รหัส 58 เป็นต้นไป วิชาบังคับ 4 รายวิชา วิชาละ 25 ข้อ รวมทั้งหมด 100 ข้อ
2 เดือน/ครั้ง หรือ 3 ครั้ง/ภาคเรียน
· ภาคเรียนที่ 1 สอบเสาร์แรกของเดือนสิงหาคม ตุลาคม ธันวาคม ของทุกปี
· ภาคเรียนที่ 2 สอบเสาร์แรกของเดือนกุมภาพันธ์ เมษายน มิถุนายน ของทุกปี
3 ครั้ง/ภาคการศึกษา (2 เดือน/ ครั้ง )
ไม่จำกัดจำนวนครั้งในการสอบ นักศึกษาสามารถสอบได้ตลอดระยะเวลาศึกษา 5 ปี
สมัครสอบครั้งแรกไม่เสียค่าใช้จ่าย ครั้งถัดไปเสียค่าใช้จ่าย 1,000 บาท / ครั้ง
ลงทะเบียนเรียนครบตามหน่วยกิตที่คณะฯกำหนดในแต่ละหลักสูตร มีผลการเรียนโดยเฉลี่ย (GPA)ตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า 3.00
ทุกหลักสูตรเรียนที่คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เขตพื้นที่การศึกษาบางมด
1. ภาษาอังกฤษ ไวยกรณ์ (Grammar) การอ่าน (Reading) (เฉพาะปริญญาโท)
2. ความรู้ทั่วไปทางคอมพิวเตอร์ (ทั้งผู้สมัครปริญญาโทและระดับปริญญาเอก)
สอบข้อเขียนและสัมภาษณ์
· ระดับปริญญาโท ใบสมัครพร้อมติดรูปถ่าย สำเนาใบรายงานผลการเรียนระดับปริญญาตรี แบบฟอร์ม บศ.2 จำนวน 2 ใบ (อาจารย์ผู้สอนในระดับปริญญาตรี จำนวน 2 ท่าน หรือหัวหน้างาน จำนวน 2 ท่าน หรือ อาจารย์ผู้สอน 1 ท่าน หัวหน้างาน 1 ท่าน)
· ระดับปริญญาเอก เอกสารการสมัครเหมือนระดับปริญญาโท และเพิ่มรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่ผู้สมัครสนใจเขียนเป็นภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 2 หน้า A4 แบบฟอร์มลาเรียนเต็มเวลา และสำเนาผลภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนด
ระดับปริญญาโท
1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาคค่ำและภาคเสาร์อาทิตย์) 160,000 บาท
2 สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ 170,000 บาท
3 สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ / สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 200,000 บาท
ระดับปริญญาเอก
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ / วิทยาการคอมพิวเตอร์ 220,000 บาท
· ITP–TOEFL 500 คะแนนขึ้นไป (เฉพาะผลสอบที่จัดสอบโดยคณะ SIT มจธ.เท่านั้น),
· TOEFL (IBT) 61 คะแนนขึ้นไป
· TOEIC 600 คะแนนขึ้นไป
· IELTS 5 คะแนนขึ้นไป,
· CU–TEP 60 คะแนนขึ้นไป
· TETET 4 คะแนนขึ้นไป**
หมายเหตุ 1. ผลภาษาอังกฤษที่นำมายื่นต้องไม่เกิน 2 ปี ตั้งแต่วันสอบถึงวันสมัคร
2. นอกเหนือจากประเภทที่กำหนดคณะไม่รับพิจารณา
· ระดับปริญญาโท สมัครได้ โดยภาษาอังกฤษคณะจะจัดสอบในวันสอบข้อเขียนและชำระค่า สมัครสำหรับผู้ไม่มีผลภาษาอังกฤษ
· ระดับปริญญาเอก ต้องมีผลภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนดเท่านั้น
· ระดับปริญญาโท 1. สมัคร 1 สาขา ไม่มีผลภาษาอังกฤษเสียค่าสมัคร 500 บาท มีผลภาษาอังกฤษ
เสียค่าสมัคร 300 บาท 2. สมัคร 2 สาขา ไม่มีผลภาษาอังกฤษเสียค่าสมัคร 800 บาท มีผลภาษาอังกฤษ
เสียค่าสมัคร 600 บาท
· ระดับปริญญาเอก
1. สมัคร 1 สาขา 300 บาท
2. สมัคร 2 สาขา 600 บาท
(โดยผู้สมัครต้องมีผลภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนดแนบมาด้วย)
2 สาขา
ผ่านออนไลน์ผ่าน URL: https://sinfo.kmutt.ac.th/Admission/public/admission/student/gradAppForm/appForm.jsf
· ระดับปริญญาเอก: สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ / วิทยาการคอมพิวเตอร์
รับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง อาทิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาวิชาวิศวกรรม
ซอฟต์แวร์ เป็นต้น
· ระดับปริญญาโท: สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ / สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา
· ระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
รับผู้สำเร็จปริญญาตรีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง อาทิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นต้น
ภาคเรียนที่ 1 (ธันวาคม – มิถุนายน) ของทุกปี ภาคเรียนที่ 2 (กรกฎาคม – พฤศจิกายน) ของทุกปี หรือตามประกาศเว็บไซต์คณะ
ค่าปรับ 6,000 บาท + ค่าคืนสภาพ 1,600 บาท + ค่าประกันอุบัติเหตุ 200 บาท
รวมทั้งสิ้น 7,800 บาท
เขียนคำร้องออนไลน์ https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/ เลือกหัวข้ออื่น ๆ
ระบุหัวข้อ ขอคืนสภาพนักศึกษาและระบุภาคการศึกษาที่ข้อคืนสภาพ พร้อมระบุเหตุผล
เพื่อให้กรรมการประจำคณะฯ อนุมัติ จากนั้นคณะจะส่งเรื่องให้งานทะเบียนดำเนินการต่อไป
ภายใน 6 สัปดาห์หลังจากเปิดภาคเรียนจะถือว่าพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
1,600 บาท + ค่าประกันอุบัติเหตุ 200 บาท รวมเป็น 1,800 บาท
ได้ครั้งละ 1 ภาคการศึกษาติดต่อกันไม่เกิน 2 ครั้ง ให้เขียนใบคำร้อง
https://sinfo.kmutt.ac.th/NewAcis/login.jsf เลือกคำร้องประเภทขอลาพักการศึกษา
ต้องผ่านเงื่อนไขทุกอย่างตามที่หลักสูตรกำหนดภายในวันที่ 15 มิถุนายน ของปีการศึกษานั้น ๆ
เขียนใบคำร้อง https://sinfo.kmutt.ac.th/NewAcis/login.jsf เลือกคำร้องประเภทขอลาพักการศึกษา เลือกภาคการศึกษาที่ต้องการขอลาพัก ให้ระบุเหตุผลในการขอลาพักการศึกษา เช่น มีปัญหาด้านการเงิน, ติดภาระกิจงานประจำที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น
ลงได้กรณีรายวิชานั้น ๆ มีที่ว่าง แต่ต้องลง workshop ที่เป็นตัวแรกของวิชา workshop นั้น ๆ เท่านั้น
กรณีเทอมสุดท้าย (เรียน coursework ครบในเทอมนั้น) อนุญาตให้ลงแต่นักศึกษา
ต้องเขียนใบคำร้องออนไลน์ขออนุมัติจากคณะฯ อีกครั้ง
ต้องชำระเงินภายใน 1 เดือน (คุณอรวรรณ กองกิจการนักศึกษาเบอร์โทร 02-470-8097
เวลาปฏิบัติการ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30 น.)
1. เข้าระบบลงทะเบียนตามปรกติทำถึง step พบอาจารย์ที่ปรึกษา
2. เมลแจ้งเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร
SE: duangnate.jam@sit.kmutt.ac.th
3. เข้าระบบลงทะเบียนอีกครั้งเพื่อทำ step ถัดไป
ไม่เกิน 3 วิชา ไม่อนุญาตให้ลงวิชา Workshop, project, thesis กรณีนักศึกษาที่ ลงวิชาเหล่านี้เป็นครั้งแรก
วันละ 50 บาท ไม่เว้นวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยนับตั้งแต่วันแรกของการเปิดภาคเรียน
1. เขียนคำร้องออนไลน์ผ่าน URL: https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/
ในช่วงเวลาที่คณะกำหนด
2. เข้าระบบลงทะเบียนตามช่วงเวลาที่กำหนดให้ลงทะเบียนตามปกติ
3. ชำระเงินหลังจากลงทะเบียนไม่เกิน 1 เดือน
1. สอบไม่ผ่านมาตรฐานอังกฤษ และหรือประมวลผลสอบความรู้ (Comprehensive)
2. คงเหลือรายวิชาเรียนแต่มีปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาการเงิน, การเดินทางไปต่างประเทศ เป็นต้น
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมีการประกาศผ่านเว็บไซต์คณะ ดังนี้
· ภาคเรียนที่ 1 ประมาณเดือนกรกฎาคม
· ภาคเรียนที่ 2 ประมาณเดือนมกราคม
กำหนดตามปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านเว็บไซต์คณะ
· ภาคเรียนที่ 1 ประมาณกลางเดือนมิถุนายน
· ภาคเรียนที่ 2 ประมาณกลางเดือนธันวาคม
การขยายเวลาเรียนกระทำได้เฉพาะระดับปริญญาเอก โดยมีเงื่อนไข ดังนี้
· นักศึกษาปริญญาเอกแผนการศึกษาแบบ 1 หรือนักศึกษาปริญญาเอกแผนการศึกษาแบบ 2 ที่สอบรายวิชาได้ครบตามกำหนดและมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.25 ซึ่งใช้ระยะเวลาศึกษาครบตามกำหนด แต่ยังทำวิทยานิพนธ์ไม่เสร็จและ/หรือรอการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ
· สามารถขยายเวลาการศึกษาได้ครั้งละไม่เกิน 1 ภาคการศึกษา
· วิทยานิพนธ์ต้องผ่านการประเมินแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ทั้งหมด และต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะและได้รับอนุมัติจากสภาวิชาการของมหาวิทยาลัย
· ระดับปริญญาโท ระยะเวลาการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 5 ปีการศึกษา
· ระดับปริญญาเอก ระยะเวลาการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 5 ปีการศึกษาสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และไม่เกิน 8 ปีการศึกษาสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก
นักศึกษาที่มีสภาพวิทยาทัณฑ์ ถ้าแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยประจำภาคน้อยกว่า
3.25 สำหรับการศึกษาระดับปริญญาเอก และ 3.00 สำหรับการศึกษาระดับปริญญาโท
ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
ก่อนการสอบปลายภาคการศึกษา 3 สัปดาห์
และจะบันทึกรายวิชาที่ขอถอนลงในใบแสดงผลการศึกษา
ภายใน 3 สัปดาห์นับจากเปิดภาคการศึกษา ซึ่งจะไม่บันทึก W ลงในใบรายงานผลการศึกษา
ภายใน 2 สัปดาห์นับจากเปิดภาคการศึกษา ส่วนการเปลี่ยนแปลงรายวิชา นักศึกษาจะต้องเขียนคำร้องผ่านระบบ https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/ พร้อมระบุเหตุผลผ่านคณะและส่งให้งานทะเบียนพิจารณาต่อไป ซึ่งอาจได้รับการอนุมัติหรือไม่อนุมัติ
ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และไม่เกิน 12 หน่วยกิต ยกเว้นกรณีที่นักศึกษามี
หน่วยกิตเหลือสำหรับลงทะเบียนตามหลักสูตรน้อยกว่า 6 หน่วยกิต ให้ลงทะเบียน
น้อยกว่า 6 หน่วยกิตได้
1. แต้มเฉลี่ยประจำภาค ให้คำนวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาในภาคการศึกษานั้น
โดยเอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิตกับแต้มผลการศึกษาแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง หารด้วยจำนวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีผลการศึกษาเป็นแต้มในภาคการศึกษานั้น ๆ ทั้งนี้ให้มีทศนิยมสองตำแหน่ง
2. แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ให้คำนวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาตั้งแต่เริ่มเข้า
ศึกษาในมหาวิทยาลัยจนถึงการประเมินผลครั้งสุดท้าย โดยเอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิตกับแต้มของผลการศึกษาแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง หารด้วยจำนวนหน่วยกิตรวมของ รายวิชาทั้งหมดที่ศึกษาและมีผลการศึกษาเป็นแต้มตามผลการเรียน ทั้งนี้ให้ปัดทศนิยม 2 ตำแหน่ง
มากกว่า 2.50
ทุกหลักสูตรเรียนที่คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เขตพื้นที่การศึกษาบางมด
1. ภาษาอังกฤษ ไวยกรณ์ (Grammar) การอ่าน (Reading) (เฉพาะปริญญาโท)
2. ความรู้ทั่วไปทางคอมพิวเตอร์ (ทั้งผู้สมัครปริญญาโทและระดับปริญญาเอก)
สอบข้อเขียนและสัมภาษณ์
· ระดับปริญญาโท ใบสมัครพร้อมติดรูปถ่าย สำเนาใบรายงานผลการเรียนระดับปริญญาตรี แบบฟอร์ม บศ.2 จำนวน 2 ใบ (อาจารย์ผู้สอนในระดับปริญญาตรี จำนวน 2 ท่าน หรือหัวหน้างาน จำนวน 2 ท่าน หรือ อาจารย์ผู้สอน 1 ท่าน หัวหน้างาน 1 ท่าน)
· ระดับปริญญาเอก เอกสารการสมัครเหมือนระดับปริญญาโท และเพิ่มรายละเอียดหัวข้อวิจัยที่ผู้สมัครสนใจเขียนเป็นภาษาอังกฤษ อย่างน้อย 2 หน้า A4 แบบฟอร์มลาเรียนเต็มเวลา และสำเนาผลภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนด
ระดับปริญญาโท
1 สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ (ภาคค่ำและภาคเสาร์อาทิตย์) 160,000 บาท
2 สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ 170,000 บาท
3 สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ / สาขาวิทยาการคอมพิวเตอร์ 200,000 บาท
ระดับปริญญาเอก
สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ / วิทยาการคอมพิวเตอร์ 220,000 บาท
· ITP–TOEFL 500 คะแนนขึ้นไป (เฉพาะผลสอบที่จัดสอบโดยคณะ SIT มจธ.เท่านั้น),
· TOEFL (IBT) 61 คะแนนขึ้นไป
· TOEIC 600 คะแนนขึ้นไป
· IELTS 5 คะแนนขึ้นไป,
· CU–TEP 60 คะแนนขึ้นไป
· TETET 4 คะแนนขึ้นไป**
หมายเหตุ 1. ผลภาษาอังกฤษที่นำมายื่นต้องไม่เกิน 2 ปี ตั้งแต่วันสอบถึงวันสมัคร
2. นอกเหนือจากประเภทที่กำหนดคณะไม่รับพิจารณา
· ระดับปริญญาโท สมัครได้ โดยภาษาอังกฤษคณะจะจัดสอบในวันสอบข้อเขียนและชำระค่า สมัครสำหรับผู้ไม่มีผลภาษาอังกฤษ
· ระดับปริญญาเอก ต้องมีผลภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนดเท่านั้น
· ระดับปริญญาโท 1. สมัคร 1 สาขา ไม่มีผลภาษาอังกฤษเสียค่าสมัคร 500 บาท มีผลภาษาอังกฤษ
เสียค่าสมัคร 300 บาท 2. สมัคร 2 สาขา ไม่มีผลภาษาอังกฤษเสียค่าสมัคร 800 บาท มีผลภาษาอังกฤษ
เสียค่าสมัคร 600 บาท
· ระดับปริญญาเอก
1. สมัคร 1 สาขา 300 บาท
2. สมัคร 2 สาขา 600 บาท
(โดยผู้สมัครต้องมีผลภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่กำหนดแนบมาด้วย)
2 สาขา
ผ่านออนไลน์ผ่าน URL: https://sinfo.kmutt.ac.th/Admission/public/admission/student/gradAppForm/appForm.jsf
· ระดับปริญญาเอก: สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ / วิทยาการคอมพิวเตอร์
รับผู้สำเร็จการศึกษาปริญญาโทในสาขาที่เกี่ยวข้อง อาทิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ สาขาวิชาวิศวกรรม
ซอฟต์แวร์ เป็นต้น
· ระดับปริญญาโท: สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ / สาขาวิชาระบบสารสนเทศทางธุรกิจ
รับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีทุกสาขา
· ระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์
รับผู้สำเร็จปริญญาตรีในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง อาทิ สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาขาวิชาวิทยาการคอมพิวเตอร์ สาขาวิชาวิศวกรรมซอฟต์แวร์ เป็นต้น
ภาคเรียนที่ 1 (ธันวาคม – มิถุนายน) ของทุกปี ภาคเรียนที่ 2 (กรกฎาคม – พฤศจิกายน) ของทุกปี หรือตามประกาศเว็บไซต์คณะ
ค่าปรับ 6,000 บาท + ค่าคืนสภาพ 1,600 บาท + ค่าประกันอุบัติเหตุ 200 บาท
รวมทั้งสิ้น 7,800 บาท
เขียนคำร้องออนไลน์ https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/ เลือกหัวข้ออื่น ๆ
ระบุหัวข้อ ขอคืนสภาพนักศึกษาและระบุภาคการศึกษาที่ข้อคืนสภาพ พร้อมระบุเหตุผล
เพื่อให้กรรมการประจำคณะฯ อนุมัติ จากนั้นคณะจะส่งเรื่องให้งานทะเบียนดำเนินการต่อไป
ภายใน 6 สัปดาห์หลังจากเปิดภาคเรียนจะถือว่าพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
1,600 บาท + ค่าประกันอุบัติเหตุ 200 บาท รวมเป็น 1,800 บาท
ได้ครั้งละ 1 ภาคการศึกษาติดต่อกันไม่เกิน 2 ครั้ง ให้เขียนใบคำร้อง
https://sinfo.kmutt.ac.th/NewAcis/login.jsf เลือกคำร้องประเภทขอลาพักการศึกษา
ต้องผ่านเงื่อนไขทุกอย่างตามที่หลักสูตรกำหนดภายในวันที่ 15 มิถุนายน ของปีการศึกษานั้น ๆ
เขียนใบคำร้อง https://sinfo.kmutt.ac.th/NewAcis/login.jsf เลือกคำร้องประเภทขอลาพักการศึกษา เลือกภาคการศึกษาที่ต้องการขอลาพัก ให้ระบุเหตุผลในการขอลาพักการศึกษา เช่น มีปัญหาด้านการเงิน, ติดภาระกิจงานประจำที่ได้รับมอบหมาย เป็นต้น
ลงได้กรณีรายวิชานั้น ๆ มีที่ว่าง แต่ต้องลง workshop ที่เป็นตัวแรกของวิชา workshop นั้น ๆ เท่านั้น
กรณีเทอมสุดท้าย (เรียน coursework ครบในเทอมนั้น) อนุญาตให้ลงแต่นักศึกษา
ต้องเขียนใบคำร้องออนไลน์ขออนุมัติจากคณะฯ อีกครั้ง
ต้องชำระเงินภายใน 1 เดือน (คุณอรวรรณ กองกิจการนักศึกษาเบอร์โทร 02-470-8097
เวลาปฏิบัติการ จันทร์-ศุกร์ 08.30-16.30 น.)
1. เข้าระบบลงทะเบียนตามปรกติทำถึง step พบอาจารย์ที่ปรึกษา
2. เมลแจ้งเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร
SE: duangnate.jam@sit.kmutt.ac.th
3. เข้าระบบลงทะเบียนอีกครั้งเพื่อทำ step ถัดไป
ไม่เกิน 3 วิชา ไม่อนุญาตให้ลงวิชา Workshop, project, thesis กรณีนักศึกษาที่ ลงวิชาเหล่านี้เป็นครั้งแรก
วันละ 50 บาท ไม่เว้นวันหยุดราชการและวันหยุดนักขัตฤกษ์ โดยนับตั้งแต่วันแรกของการเปิดภาคเรียน
1. เขียนคำร้องออนไลน์ผ่าน URL: https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/
ในช่วงเวลาที่คณะกำหนด
2. เข้าระบบลงทะเบียนตามช่วงเวลาที่กำหนดให้ลงทะเบียนตามปกติ
3. ชำระเงินหลังจากลงทะเบียนไม่เกิน 1 เดือน
1. สอบไม่ผ่านมาตรฐานอังกฤษ และหรือประมวลผลสอบความรู้ (Comprehensive)
2. คงเหลือรายวิชาเรียนแต่มีปัญหาอื่น ๆ เช่น ปัญหาการเงิน, การเดินทางไปต่างประเทศ เป็นต้น
คณะเทคโนโลยีสารสนเทศมีการประกาศผ่านเว็บไซต์คณะ ดังนี้
· ภาคเรียนที่ 1 ประมาณเดือนกรกฎาคม
· ภาคเรียนที่ 2 ประมาณเดือนมกราคม
กำหนดตามปฏิทินการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา คณะเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านเว็บไซต์คณะ
· ภาคเรียนที่ 1 ประมาณกลางเดือนมิถุนายน
· ภาคเรียนที่ 2 ประมาณกลางเดือนธันวาคม
การขยายเวลาเรียนกระทำได้เฉพาะระดับปริญญาเอก โดยมีเงื่อนไข ดังนี้
· นักศึกษาปริญญาเอกแผนการศึกษาแบบ 1 หรือนักศึกษาปริญญาเอกแผนการศึกษาแบบ 2 ที่สอบรายวิชาได้ครบตามกำหนดและมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.25 ซึ่งใช้ระยะเวลาศึกษาครบตามกำหนด แต่ยังทำวิทยานิพนธ์ไม่เสร็จและ/หรือรอการตีพิมพ์ผลงานทางวิชาการ
· สามารถขยายเวลาการศึกษาได้ครั้งละไม่เกิน 1 ภาคการศึกษา
· วิทยานิพนธ์ต้องผ่านการประเมินแล้วไม่น้อยกว่าร้อยละ 90 ของจำนวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์ทั้งหมด และต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจำคณะและได้รับอนุมัติจากสภาวิชาการของมหาวิทยาลัย
· ระดับปริญญาโท ระยะเวลาการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 5 ปีการศึกษา
· ระดับปริญญาเอก ระยะเวลาการศึกษาอย่างมากไม่เกิน 5 ปีการศึกษาสำหรับผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท และไม่เกิน 8 ปีการศึกษาสำหรับผู้ที่สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีแล้วเข้าศึกษาในระดับปริญญาเอก
นักศึกษาที่มีสภาพวิทยาทัณฑ์ ถ้าแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยประจำภาคน้อยกว่า
3.25 สำหรับการศึกษาระดับปริญญาเอก และ 3.00 สำหรับการศึกษาระดับปริญญาโท
ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
ก่อนการสอบปลายภาคการศึกษา 3 สัปดาห์
และจะบันทึกรายวิชาที่ขอถอนลงในใบแสดงผลการศึกษา
ภายใน 3 สัปดาห์นับจากเปิดภาคการศึกษา ซึ่งจะไม่บันทึก W ลงในใบรายงานผลการศึกษา
ภายใน 2 สัปดาห์นับจากเปิดภาคการศึกษา ส่วนการเปลี่ยนแปลงรายวิชา นักศึกษาจะต้องเขียนคำร้องผ่านระบบ https://webapp1.sit.kmutt.ac.th/Petition/ พร้อมระบุเหตุผลผ่านคณะและส่งให้งานทะเบียนพิจารณาต่อไป ซึ่งอาจได้รับการอนุมัติหรือไม่อนุมัติ
ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และไม่เกิน 12 หน่วยกิต ยกเว้นกรณีที่นักศึกษามี
หน่วยกิตเหลือสำหรับลงทะเบียนตามหลักสูตรน้อยกว่า 6 หน่วยกิต ให้ลงทะเบียน
น้อยกว่า 6 หน่วยกิตได้
1. แต้มเฉลี่ยประจำภาค ให้คำนวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาในภาคการศึกษานั้น
โดยเอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิตกับแต้มผลการศึกษาแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง หารด้วยจำนวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีผลการศึกษาเป็นแต้มในภาคการศึกษานั้น ๆ ทั้งนี้ให้มีทศนิยมสองตำแหน่ง
2. แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม ให้คำนวณจากผลการศึกษาของนักศึกษาตั้งแต่เริ่มเข้า
ศึกษาในมหาวิทยาลัยจนถึงการประเมินผลครั้งสุดท้าย โดยเอาผลรวมของผลคูณของหน่วยกิตกับแต้มของผลการศึกษาแต่ละรายวิชาเป็นตัวตั้ง หารด้วยจำนวนหน่วยกิตรวมของ รายวิชาทั้งหมดที่ศึกษาและมีผลการศึกษาเป็นแต้มตามผลการเรียน ทั้งนี้ให้ปัดทศนิยม 2 ตำแหน่ง
มากกว่า 2.50