หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบริการดิจิทัล
Bachelor of Arts Programme in Digital Service Innovation
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย: หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมบริการดิจิทัล
ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Arts Programme in Digital Service Innovation
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย): ศิลปศาสตรบัณฑิต (นวัตกรรมบริการดิจิทัล)
(อังกฤษ): Bachelor of Arts (Digital Service Innovation)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย): ศศ.บ. (นวัตกรรมบริการดิจิทัล)
(อังกฤษ): B.A. (Digital Service Innovation)
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
- นักออกแบบนวัตกรรมบริการ (Innovation Service Designer)
- นักออกแบบเว็บ/โมบายแอปพลิเคชัน (Web /Mobile Application Designer)
- นักพัฒนาโปรแกรมส่วนปฏิสัมพันธ์กับผู้ใช้ (Front-end Developer)
- นักวิเคราะห์ธุรกิจ (Business Analyst)
- นักวิเคราะห์ระบบ (System Analyst)
- ผู้ประสานงานโครงการ (Project Coordinator)
- นักวางแผนการตลาดดิจิทัล (Digital Marketing Planner)
- นักพัฒนาด้านมัลติมีเดีย (Multimedia Developer)
- นักออกแบบประสบการณ์/ส่วนติดต่อผู้ใช้ (UX/UI Designer)
- นักยุทธศาสตร์โซเชียลมีเดีย (Social Media Strategist)
- ผู้เชี่ยวชาญด้านทรัพยากรดิจิทัล (Digital Resources Specialist)
- เจ้าของธุรกิจดิจิทัล (Digital Startup)
- นักวิชาชีพ/นักวิชาการที่มีบทบาทในการเปลี่ยนแปลงและสร้างผลกระทบเชิงบวกในการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในองค์กรหรือสถานประกอบการ (Digital Transformation Change Agent)
- รองรับอาชีพใหม่ที่จะเกิดขึ้นที่เกี่ยวข้องกับการสร้างนวัตกรรมการออกแบบบริการดิจิทัล โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทัล
ระยะเวลาในการศึกษา:
ศึกษาตามหลักสูตร 4 ปีการศึกษา แต่ไม่เกิน 8 ปีการศึกษา
วันเรียน
วันธรรมดา จันทร์-ศุกร์ เวลา 08.30-17.20 น.
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
- สื่อสารภาษาไทยได้
- ต้องสำเร็จการศึกษาไม่ต่ำกว่ามัธยมศึกษาตอนปลาย หรือเทียบเท่าในทุกสาขา
- ผ่านการคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาและ/หรือเป็นไปตามระเบียบข้อบังคับการคัดเลือกของคณะเทคโนโลยีสารสนเทศร่วมกับคณะศิลปศาสตร์และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
- ผ่านการคัดเลือกตามความเห็นชอบของคณะกรรมการประจำหลักสูตรโดยพิจารณาจากความสามารถ
การคัดเลือกผู้เข้าศึกษา
- โดยระบบคัดเลือกของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.)
- มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี เป็นผู้ดำเนินการคัดเลือกเอง
- การคัดเลือกโดยคณะเทคโนโลยีสารสนเทศ
แผนการเรียนตามหลักสูตรปกติ
- จำนวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 121 หน่วยกิต
- โครงสร้างหลักสูตร
ก.หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 24 หน่วยกิต
ข.หมวดวิชาเฉพาะ 73 หน่วยกิต
ข.1 กลุ่มเทคโนโลยีดิจิทัล 37 หน่วยกิต
ข.2 กลุ่มการสื่อสารและธุรกิจ 33 หน่วยกิต
ข.3 วิชาเลือก 3 หน่วยกิต
ค. หมวดการเรียนรู้จากประสบการณ์ 18 หน่วยกิต
ค.1 การเรียนรู้จากประสบการณ์ 12 หน่วยกิต
ค.2 โครงการรวบยอด 6 หน่วยกิต
ง. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต
หมายเหตุ : ในส่วนของหมวดวิชาชีพ เปิดให้นักศึกษาสามารถเลือกสาขาและรายวิชาได้ด้วยตนเองนอกเหนือจากที่ปรากฏด้านบน โดยกรรมการหลักสูตรเป็นผู้อนุมัติ หรือให้ผู้สำเร็จการศึกษาในสายวิชาชีพใดวิชาชีพหนึ่ง เช่น การบัญชี การตลาด รัฐศาสตร์ แพทยศาสตร์ เป็นต้น โอนหรือเทียบโอนหน่วยกิตได้ทั้งหมด 24 หน่วยกิต เพื่อให้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาโดย ให้เป็นไปตามเกณฑ์ของสกอ. และ กรรมการหลักสูตรจะเป็นผู้พิจารณาในเนื้อหาในรายละเอียดของแต่ละวิชา
ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 1 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 101 |
นวัตกรรมบริการดิจิทัลเบื้องต้น |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 102 |
เทคโนโลยีดิจิทัลเบื้องต้น |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 103 |
สัมมนานวัตกรรม |
1 |
(0 |
2 |
2) |
DSI 201 |
การสื่อสารของมนุษย์ 1 |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 204 |
ธุรกิจเบื้องต้น |
3 |
(3 |
0 |
6) |
GEN 111 |
มนุษย์และหลักจริยศาสตร์เพื่อการดำเนินชีวิต |
3 |
(3 |
0 |
6) |
รวม 49 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
16 |
(15 |
2 |
32) |
ปีที่ 1 / ภาคการศึกษาที่ 2 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 104 |
เทคโนโลยีเว็บและฐานข้อมูล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 105 |
การเขียนโปรแกรมสำหรับบริการดิจิทัล |
3 |
(2 |
2 |
5) |
DSI 106 |
ศิลปะดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 202 |
การสื่อสารของมนุษย์ 2 |
3 |
(3 |
0 |
6) |
GEN 121 |
ทักษะการเรียนรู้และการแก้ปัญหา |
3 |
(3 |
0 |
6) |
LNG 120/220 |
ภาษาอังกฤษทั่วไป / ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ |
3 |
(3 |
0 |
6) |
รวม 54 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
18 |
(17 |
2 |
35) |
ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 1 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 107 |
สถิติสำหรับบริการดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 108 |
การผลิตโปรแกรมประยุกต์ดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 203 |
จิตวิทยาเพื่อบริการดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 205 |
การตลาดดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
GEN 231 |
มหัศจรรย์แห่งความคิด |
3 |
(3 |
0 |
6) |
LNG 220/224 |
ภาษาอังกฤษเชิงวิชาการ / การสื่อสารภาษาอังกฤษ I |
3 |
(3 |
0 |
6) |
รวม 54 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
18 |
(18 |
0 |
36) |
ปีที่ 2 / ภาคการศึกษาที่ 2 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 109 |
ประสบการณ์ของผู้ใช้และส่วนต่อประสาน |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 110 |
การบริหารโครงการดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 206 |
การวิจัยการตลาด |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 207 |
การบริหารงานบุคคล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 208 |
เศรษฐศาสตร์ธุรกิจ |
3 |
(3 |
0 |
6) |
GEN 241 |
ความงดงามแห่งชีวิต |
3 |
(3 |
0 |
6) |
รวม 54 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
18 |
(18 |
0 |
36) |
ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 1 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 111 |
การเปลี่ยนแปลงสู่ดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 209 |
การจัดการการเงิน |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 210 |
การบัญชีสำหรับธุรกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง |
3 |
(3 |
0 |
6) |
LNG 323 |
English for Digital Service and Innovation |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI xxx |
วิชาเลือก |
3 |
|||
XXX xxx |
วิชาเลือกเสรี 1 |
3 |
(3 |
0 |
6) |
รวม 54 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
18 |
(18/17 |
0/2 |
36/35) |
ปีที่ 3 / ภาคการศึกษาที่ 2 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 112 |
การออกแบบบริการดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 113 |
การจัดการความรู้ |
3 |
(3 |
0 |
6) |
DSI 211 |
กฎหมายดิจิทัล |
3 |
(3 |
0 |
6) |
GEN 351 |
การบริหารจัดการยุคใหม่และภาวะผู้นำ |
3 |
(3 |
0 |
6) |
XXX xxx |
วิชาเลือกเสรี 2 |
3 |
(3 |
0 |
6) |
รวม 45 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
15 |
(15 |
0 |
30) |
ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่ 1 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 301 |
การเรียนรู้จากประสบการณ์ 1 |
6 |
(0 |
18 |
5) |
DSI 303 |
โครงการรวบยอด 1 |
3 |
(0 |
9 |
5) |
รวม 37 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
9 |
(0 |
27 |
10) |
ปีที่ 4 / ภาคการศึกษาที่ 2 |
หน่วยกิต |
(ท |
ป |
ต) |
|
DSI 302 |
การเรียนรู้จากประสบการณ์ 2 |
6 |
(0 |
18 |
5) |
DSI 304 |
โครงการรวบยอด 2 |
3 |
(0 |
9 |
5) |
รวม 37 ชั่วโมง/สัปดาห์ |
9 |
(0 |
27 |
10) |
ค่าใช้จ่ายในการศึกษา
- ค่าบำรุงการศึกษาและค่าลงทะเบียนวิชาเรียน เหมาจ่ายต่อภาคการศึกษา 45,250 บาท
- รวมค่าเล่าเรียนต่อปีการศึกษา 90,500 บาท
- รวมค่าเล่าเรียนตลอดหลักสูตร 362,000 บาท
Curriculum